ความหมายเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก




ความหมายเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา
ตามพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 ให้คาจากัดความ “เทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก”(Assistive Technology) ไว้ว่าเป็นเครื่องมืออุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือบริการที่ใช้สาหรับคนพิการโดยเฉพาะ หรือที่มีการดัดแปลงหรือปรับใช้ให้ตรงกับ ความต้องการจาเป็นพิเศษของคนพิการแต่ละบุคคล เพื่อเพิ่ม รักษา คงไว้ หรือพัฒนาความสามารถและ ศักยภาพที่จะเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร การสื่อสาร รวมถึงกิจกรรมอื่นใดในชีวิตประจาวันเพื่อการดารงชีวิต อิสระ” 
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (2547) ให้ความหมายว่า “เทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก” เป็นวิทยาการที่มุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการให้พ้นจากอุปสรรค ที่ทาให้คนพิการมีสมรรถนะที่ด้อยกว่าคนปกติ ทั้งในด้านการดาเนินชีวิตประจาวัน การศึกษา และ การประกอบอาชีพ วิทยาการของ เทคโนโลยีด้านนี้ จึงต้องคานึงถึงสภาพความพิการ อันได้แก่ ความพิการ ทางกาย ทางการเห็น ทางการได้ยิน ทางสติปัญญา และทางการเรียนรู้ในการสร้างสิ่งอานวยความ 
สะดวกให้ตรงกับความต้องการเฉพาะของผู้พิการแต่ละประเภท การพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวก จาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือ ของผู้ที่เกี่ยวข้องหลายสาขา นอกจากความรู้เทคโนโลยีแกนหลักแล้วยัง ต้องใช้ความรู้ทางด้านการแพทย์ การบาบัด การศึกษาพิเศษ วิศวกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพ (rehabilitation engineering) รวมทั้งการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ต้องคานึงถึงส่วนติดต่อใช้งาน(user interface) กับผู้พิการซึ่งมีความต้องการพิเศษ 
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (2550) ให้ความหมายว่า “เทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก” หมายถึง เครื่องมืออุปกรณ์ที่ช่วยสนับสนุนทางกายภาพสาหรับ คนพิการที่จะเข้าถึงข้อมูล สารสนเทศ และการสื่อสารของคนพิการได้ 
พวงแก้ว กิจธรรม (2547) ให้ความหมายว่า “เทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก” หมายถึง หลายสิ่งหลายอย่าง ได้แก่ ชิ้นส่วนของอุปกรณ์ หรือผลิตภัณฑ์ ซึ่งมีวางจาหน่ายทั่วไป หรือได้ดัดแปลง หรือผลิตเฉพาะบุคคลเพื่อนามาใช้ในการดารงชีวิตอย่างอิสระ สามารถพัฒนาศักยภาพของผู้พิการที่ใช้ อุปกรณ์นั้นๆ 
เบญจา ชลธาร์นนท์ (2546) ให้ความหมายว่า “เทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก” หมายถึง เทคโนโลยีที่คนพิการใช้ ซึ่งได้มีการพัฒนาและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี เพื่อช่วยให้คน พิการสามารถดารงชีวิตอิสระ (independent living) ปฏิบัติงานและผลิตงานออกมาได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น 
Dr.Robin Brewer (อ้างถึงในเอกสารประกอบการอบรมหลักสูตรการพฒันาศักยภาพบคุลากรทเกี่ยวขอ้งกับ การจัดการศกึษาสาหรับคนพิการในระดับอุดมศึกษาเรื่อง การช่วยเหลอืและอานวยความสะดวกอย่างสมเหตุสมผล และเทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก สาหรับนักศึกษาพิการ)ได้กล่าวถึง เทคโนโลยีสิ่งอานวยวามสะดวก ว่า เทคโนโลยีสิ่งอำนวย ความสะดวก คือ อุปกรณ์ หรือ software หรือสิ่งที่ช่วยสนับสนุนนักศึกษาพิการในการเรียนรู้ เพื่อช่วย ให้คนพิการได้เข้าถึงการเรียนการสอนหรือข้อมูลข่าวสาร ตัวอย่างเช่น 
- Scribe คือ ผู้ช่วยจดสาหรับนักศึกษาพิการที่ไม่สามารถเขียนได้ ซึ่งจะเขียนคาตอบทุกอย่าง ที่นักศึกษาบอกลงในข้อสอบ จะแตกต่างจาก Note taker ซึ่งจะจดบรรยายและสรุปเนื้อหาการเรียนใน ห้องเรียน 
- Screen reader โปรแกรมอ่านจอภาพสาหรับคนพิการทางการเห็น เพื่อช่วยให้นักศึกษา สามารถเข้าถึงคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตนเอง                                                                                                                                 - Switches ปุ่มต่างๆ ที่ใช้สาหรับบันทึกข้อมูลอิเลคทรอนิกส์ เช่น สวิตช์สาหรับเก้าอี้รถเข็น เพื่อเดินทางสะดวก สวิตช์สาหรับการสื่อสาร หรือสวิตช์ที่ใช้ควบคุมอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆการ ดารงชีวิตอิสระ เช่น ใช้เปิด-ปิดไฟ                                                                                                                                                       - Talking calculators เครื่องคิดเลขพูดได้ สาหรับคนพิการทางการเห็น หรือ ผู้ที่มีปัญหา อุปสรรคในการคิดเลข - Voice Recognition Technology โปรแกรมสั่งงานด้วยเสียง - Word-prediction software โปรแกรมเดาคำศัพท์ 
กล่าวโดยสรุป “เทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก” หมายถึง บริการ เครื่องมือ อุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์ระบบใดๆ ที่นามาปรับและนามาใช้ โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้บุคคลใช้ความสามารถ ทดแทน ปัญหาความบกพร่อง ดังต่อไปนี้ 
1) ปรับปรุงความสามารถในการปฏิบัติงาน (functioning capability)
2) เพมิ่ ความสามารถในการปฏิบัติงาน
3) รักษาระดับความสามารถในการปฏิบัติงาน
4) การสนับสนุนให้เกิดความรู้ความเข้าใจเนื้อหาและรายละเอียดของกิจกรรมต่างๆ ทั้งในด้านการเรียนรู้ การดำรงชีวิตและการพึ่งพาตนเองอย่างอิสระได้ 

บรรณานุกรม
กลุ่มสื่อเทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวกทางการศึกษาสาหรับคนพิการ สานักงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือรายการสิ่ง อานวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ประจาปี 2546 บัญชี (ก) (ข) (ค) 
เบญจา ชลธาร์นนท์. (2546). เทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับคนพิการ. กรุงเทพ: วารสารวิชาการ. 
พวงแก้ว กิจธรรม. (2547). เทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับคนพิการในประเทศไทย. เข้าถึง ผ่าน http://www .tddf.or.th [ออนไลน์] 
วันทนีย์ พันธชาติ. (2547). ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สานักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. เข้าถึงผ่าน http://www2.nstda.or.th/pr/press/feb03/hrh_act.htm [ออนไลน์]
สานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ, กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์. (2552). คู่มือกฎหมายการปฏิบัติงานเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคน พิการ. กรุงเทพ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. 




SHARE

Milan Tomic

Hi. I’m Designer of Blog Magic. I’m CEO/Founder of ThemeXpose. I’m Creative Art Director, Web Designer, UI/UX Designer, Interaction Designer, Industrial Designer, Web Developer, Business Enthusiast, StartUp Enthusiast, Speaker, Writer and Photographer. Inspired to make things looks better.

  • Image
  • Image
  • Image
  • Image
  • Image
    Blogger Comment
    Facebook Comment

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Understanding Assistive Technology: Simply Said